ต้นชิงเฮา (Artemisinin) ช่วยยับยั่งกระบวนการสร้างโมเลกุล E2F1 ซึ่งช่วยหยุดเซลล์มะเร็งเต้านมและยังช่วยควบคุมการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งอย่างมีนัยสำคัญ กล่าวโดย นักวิจัยโรคมะเร็งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ” ได้บอกรายละเอียดเพิ่มเติมว่า พืชชนิดนี้มีสารอาร์เทมิซินินถึง 28% ซึ่งมันสามารถจัดการกับเซลล์มะเร็งเต้านมและยังช่วยยับยั่งการเกิดโรคมะเร็งได้อย่างดีเยี่ยม และสิ่งที่สำคัญมากคือสารในต้นชิงเฮาไม่ก่อให้เกิดอันตรายใดๆ กับเซลล์อื่นๆ ในร่างกายของเรา
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของชิงเฮา
ชิงเฮามีสารประกอบมากถึง 79 ชนิด โดยมี Arteamisinin ที่มีชื่อเรียกในภาษาจีน คือ Qinghaosu และสาร Abrotanine ทั้งต้นมีน้ำมันระเหยประมาณ 0.3-0.5% (Cineole หรือ Eucalyptol), Artemisia ketone, C10H16O), (1-B-artemisia alcohol acetate, C10H160CO.CH3), (1-camphor), (Cuminal), (Carypohyllene), (C15H240), (Cadinene, C15H24), (Scodolin, C16H18O9), (Scopoletin, C10H8O4) เป็นต้น[1]
เมื่อเอาความเข้มข้น 1 ต่อ 3 ของน้ำแช่ต้นชิงเฮา มาทดลองกับเชื้อราของโรคผิวหนังในหลอดทดลอง พบว่า ความเข้มข้นของชิงเฮา 7.8 มิลลิกรัมต่อซีซี สามารถยับยั้งเชื้อราได้ดี[1]
การนำมาใช้รักษามาลาเรีย เนื่องจากสาร Artemesinin เป็นสารที่ละลายยากทั้งในน้ำและในน้ำมัน ปัจจุบันจึงมีการแยกสังเคราะห์แบ่งแยกสารอนุพันธ์ของ Artemesinin แยกออก ได้แก่ Artemether กับ Artesunate เป็นสองชนิด[1] โดย Artemether จะมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อมาลาเรียได้ดีกว่า Artemesinin ประมาณ 2-3 เท่า ละลายในน้ำมันได้ดี จึงสามารถนำไปเตรียมเป็นยาฉีดเข้ากล้ามได้ ส่วน Artesunate จะมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อมาลาเรียได้ดีกว่า Artemesinin ประมาณ 2-3 เท่าเช่นกัน แต่จะละลายในน้ำได้ดี จึงสามารถนำไปเตรียมเป็นยาฉีดเข้าหลอดเลือดดำได้ และส่งผลให้ยาออกฤทธิ์ได้เร็วกว่า[3]
Artemisinin และสารอนุพันธ์ จะถูกเปลี่ยนแปลงในร่างกายเป็นสาร Active metabolite คือ Dihydroartemisinin ที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อมาลาเรียได้ดีกว่า Artemisinin 2 เท่า โดยออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อมาลาเรียในระยะที่เป็น Blood schizont สารกลุ่มนี้จะออกฤทธิ์ต่อต้านเชื้อ Plasmodium ทุก species ทั้งที่ดื้อและไม่ดื้อต่อยาคลอโรควิน ในปัจจุบันสารกลุ่มนี้ได้มีการศึกษากันอย่างกว้างขวาง ทั้งในสัตว์ทดลองและการทดลองทางคลินิกทั้ง 4 ระยะ จนได้รับการอนุมัติจากองค์การอาหารและยาของหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทย ให้ใช้เป็นยารักษาโรคมาลาเรียที่เกิดจากเชื้อ Plasmodium falciparum ที่ดื้อต่อยาคลอโรควิน ซึ่งพบมากในประเทศไทย[1]
กลไกการออกฤทธิ์ต้านมาลาเรีย สาร Artemisinin นั้นจัดอยู่ในกลุ่ม Sesquiterpene Lactone ชนิดที่มี Endoperoxide bridge อยู่ภายใน ring ซึ่งไม่ค่อยพบได้ในธรรมชาติ โดยเชื่อว่ากลุ่ม Endo-peroxide (C-O-O-C) นี้เป็นส่วนสำคัญในการออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อมาลาเรีย เนื่องจากอนุพันธ์ของ Artemisinin ที่ไม่มีกลุ่ม Endoperoxide จะไม่มีฤทธิ์เลย คาดว่ากลไกการออกฤทธิ์ของยากลุ่มนี้อาศัยกระบวนการสร้างอนุมูลอิสระ คือ เชื้อมาลาเรียจะทำลายเม็ดเลือดแดงในผู้ป่วย โดยเปลี่ยน Haemoglobin (Fe3+) ให้เป็น Haem (Fe2+) ซึ่ง (Fe2+) ที่เกิดขึ้นจะไปเร่งปฏิกิริยาเปลี่ยน Endoperoxide ให้เป็นอนุมูลอิสระ และอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นนี้จะไปจับกับโปรตีนของเชื้อมาลาเรีย ทำให้เชื้อถูกทำลาย ซึ่งกลไกดังกล่าวจะต่างไปจากยาต้านมาลาเรียที่ใช้อยู่เดิม เช่น ยาในกลุ่มควินิน ซึ่งจะออกฤทธิ์โดยยับยั้งการสังเคราะห์ DNA และ RNA จึงทำให้ยาชนิดนี้ใช้ได้ผลดีกับเชื้อมาลาเรียชนิดดื้อยา[3]
เมื่อให้ Artemisinin แก่หนูทดลองทางปาก ยาจะถูกดูดซึมอย่างรวดเร็วและมีความเข้มข้นในเลือดสูงสุดภายใน 1 ชั่วโมง ส่วนยาที่เหลือจะถูกกำจัดที่ตับโดยเปลี่ยนเป็นสารที่ไม่มีฤทธิ์ ส่วนอนุพันธ์ของ Artemisinin คือ Artemether และ Artesunate จะถูกเปลี่ยนเป็น Dihydroartemisinin ซึ่งเป็นตัวที่ออกฤทธิ์ต้านเชื้อมาลาเรีย เนื่องจากยากลุ่มนี้มีค่าครึ่งชีวิตสั้น (ประมาณ 4 ชั่วโมงในกระแสเลือด) และการออกฤทธิ์เร็วของยาจะทำให้ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นภายใน 3-4 วัน แต่ต้องใช้ยากลุ่ม Artemisinin ในการรักษานานประมาณ 5-7 วัน เมื่อเทียบกับเมโฟรควินซึ่งมีค่าครึ่งชีวิตนานถึง 6-22 วัน ทำให้ยาออกฤทธิ์ช้าและเกิดอาการดื้อยาได้ง่าย[3]
การสังเคราะห์ทางเคมี การสังเคราะห์สาร Artemisinin และสารอนุพันธ์ด้วยวิธีดังกล่าวต้องผ่านหลายขั้นตอน ทำให้มีค่าใช้จ่ายสูงและไม่คุ้มทุน จึงนิยมสังเคราะห์โดยใช้ Artemisinin ที่แยกได้จากพืชชิงเฮาเป็นตัวตั้งต้นปฏิกิริยา สถาบันวิจัยและพัฒนา องค์การเภสัชกรรมได้ทำการสกัดโดยวิธี Solvent extraction และทำให้สารบริสุทธิ์โดย Preparative MPLC แล้วสังเคราะห์อนุพันธ์ของ Artemisinin ที่แยกได้โดยใช้เครื่องทำปฏิกิริยาเคมีขนาด 20 ลิตร และสามารถสังเคราะห์อนุพันธ์ได้ 3 ชนิด คือ Artemether, Artesunate และ Dihydroartemisinin โดยพบว่าอนุพันธ์ Dihydroartemisinin นั้นมีขั้นตอนการสังเคราะห์ที่สั้นกว่าอนุพันธ์อื่นและมีประสิทธิภาพในการต้านเชื้อมาลาเรียได้ดีกว่า Artemisinin จึงมีศักยภาพที่จะพัฒนาเป็นยาต้านมาลาเรียชนิดดื้อยาได้ จากนั้นได้ศึกษาวิจัยและพัฒนาสูตรยา Dihydroartemisinin ตลอดจนพัฒนาวิธีการควบคุมคุณภาพจนได้เป็นยาเม็ด Dihydroartemisinin ชนิดฟิล์มเคลือบขนาด 25, 50 และ 100 มิลลิกรัม และยา Dihydroartemisinin ชนิดแคปซูลขนาด 100 มิลลิกรัม[3]
จากการทดสอบประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยา Dihydroartemisinin ทางคลินิกในผู้ป่วยติดเชื้อมาลาเรียชนิดดื้อยา โดยทดสอบตัวยา 3 สูตร ในผู้ป่วยกลุ่มละ 60 คน ได้แก่
1. ยา Dihydroartemisinin ที่สังเคราะห์และพัฒนายาเองทุกขั้นตอนโดยสถาบันวิจัยและพัฒนาองค์การเภสัชกรรม,
2. ยา Dihydroartemisinin ที่นำเข้าวัตถุดิบมาจากประเทศเวียดนามและใช้สูตรยาขององค์การเภสัชกรรม และ
3. ยา Dihydroartemisinin สำเร็จรูปที่ผลิตขึ้นในประเทศจีน
ทำการทดลองให้ยาแก่ผู้ป่วยในขนาด 600 มิลลิกรัม แบ่งรับประทาน 5 วัน ผลการรักษาพบว่าผู้ป่วยทุกรายไม่มีเชื้อในเลือดภายใน 3 วัน หลังจากเริ่มการรักษาและไม่พบอาการข้างเคียงที่รุนแรง โดยอัตราการหายจากโรคคิดเป็น 92%, 85% และ 80% ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า Dihydroartemisinin ออกฤทธิ์เร็ว
ซึ่งมีข้อดีคือ จะทำให้เชื้อดื้อต่อยาได้ยากขึ้น องค์การอนามัยโลก (WHO) จึงแนะนำให้ใช้เป็นยาต้านมาลาเรียเฉพาะกับผู้ป่วยมาลาเรียชนิดที่ใช้ยาต้านมาลาเรียอื่นไม่ได้ผลเท่านั้น ทั้งนี้ก็เพื่อลดโอกาสการดื้อยาของเชื้ออันเนื่องมาจากการใช้ยาผิดวิธีนั่นเอง[3]
ประโยชน์ของชิงเฮา
- ธาตุเหล็กที่เข้าไปสะสมในเซลล์มะเร็งจะช่วยรักษาเสถียรภาพของเซลล์ ทำให้เซลล์กลับมาอยู่ในสภาพปกติ นอกจากนี้การรวมตัวของเหล็กและสารอาร์เทมิซินินเป็นสิ่งที่ดีมากในการยับยั่งเซลล์มะเร็ง
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ” ได้บอกรายละเอียดเพิ่มเติมว่า พืชชนิดนี้มีสารอาร์เทมิซินินถึง 28% ซึ่งมันสามารถจัดการกับเซลล์มะเร็งเต้านมและยังช่วยยับยั่งการเกิดโรคมะเร็งได้อย่างดีเยี่ยม และสิ่งที่สำคัญมากคือสารในต้นชิงเฮาไม่ก่อให้เกิดอันตรายใดๆ กับเซลล์อื่นๆ ในร่างกายของเรา
- การแพทย์แผนจีนนิยมใช้ต้นชิงเฮามานานนับพันๆ ปี เนื่องจากมันอุดมไปด้วยธาตุเหล็กที่ใช้รักษาโรคมาลาเรียและฆ่าปรสิตได้เป็นอย่างดี
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของชิงเฮา
ชิงเฮามีสารประกอบมากถึง 79 ชนิด โดยมี Arteamisinin ที่มีชื่อเรียกในภาษาจีน คือ Qinghaosu และสาร Abrotanine ทั้งต้นมีน้ำมันระเหยประมาณ 0.3-0.5% (Cineole หรือ Eucalyptol), Artemisia ketone, C10H16O), (1-B-artemisia alcohol acetate, C10H160CO.CH3), (1-camphor), (Cuminal), (Carypohyllene), (C15H240), (Cadinene, C15H24), (Scodolin, C16H18O9), (Scopoletin, C10H8O4) เป็นต้น[1]
- มีรายงานว่า ชิงเฮามีฤทธิ์ต้านเชื้อมาลาเรีย ป้องกันการเกิดแผลที่กระเพาะอาหาร ปกป้อง DNA ต้านเชื้อแบคทีเรีย น้ำมันหอมระเหยมีฤทธิ์ต้านเชื้อจุลชีพหลายชนิด ต้านมะเร็ง ต้านการอักเสบ มีฤทธิ์กดภูมิต้านทาน[4]
เมื่อเอาความเข้มข้น 1 ต่อ 3 ของน้ำแช่ต้นชิงเฮา มาทดลองกับเชื้อราของโรคผิวหนังในหลอดทดลอง พบว่า ความเข้มข้นของชิงเฮา 7.8 มิลลิกรัมต่อซีซี สามารถยับยั้งเชื้อราได้ดี[1]
การนำมาใช้รักษามาลาเรีย เนื่องจากสาร Artemesinin เป็นสารที่ละลายยากทั้งในน้ำและในน้ำมัน ปัจจุบันจึงมีการแยกสังเคราะห์แบ่งแยกสารอนุพันธ์ของ Artemesinin แยกออก ได้แก่ Artemether กับ Artesunate เป็นสองชนิด[1] โดย Artemether จะมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อมาลาเรียได้ดีกว่า Artemesinin ประมาณ 2-3 เท่า ละลายในน้ำมันได้ดี จึงสามารถนำไปเตรียมเป็นยาฉีดเข้ากล้ามได้ ส่วน Artesunate จะมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อมาลาเรียได้ดีกว่า Artemesinin ประมาณ 2-3 เท่าเช่นกัน แต่จะละลายในน้ำได้ดี จึงสามารถนำไปเตรียมเป็นยาฉีดเข้าหลอดเลือดดำได้ และส่งผลให้ยาออกฤทธิ์ได้เร็วกว่า[3]
Artemisinin และสารอนุพันธ์ จะถูกเปลี่ยนแปลงในร่างกายเป็นสาร Active metabolite คือ Dihydroartemisinin ที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อมาลาเรียได้ดีกว่า Artemisinin 2 เท่า โดยออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อมาลาเรียในระยะที่เป็น Blood schizont สารกลุ่มนี้จะออกฤทธิ์ต่อต้านเชื้อ Plasmodium ทุก species ทั้งที่ดื้อและไม่ดื้อต่อยาคลอโรควิน ในปัจจุบันสารกลุ่มนี้ได้มีการศึกษากันอย่างกว้างขวาง ทั้งในสัตว์ทดลองและการทดลองทางคลินิกทั้ง 4 ระยะ จนได้รับการอนุมัติจากองค์การอาหารและยาของหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทย ให้ใช้เป็นยารักษาโรคมาลาเรียที่เกิดจากเชื้อ Plasmodium falciparum ที่ดื้อต่อยาคลอโรควิน ซึ่งพบมากในประเทศไทย[1]
กลไกการออกฤทธิ์ต้านมาลาเรีย สาร Artemisinin นั้นจัดอยู่ในกลุ่ม Sesquiterpene Lactone ชนิดที่มี Endoperoxide bridge อยู่ภายใน ring ซึ่งไม่ค่อยพบได้ในธรรมชาติ โดยเชื่อว่ากลุ่ม Endo-peroxide (C-O-O-C) นี้เป็นส่วนสำคัญในการออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อมาลาเรีย เนื่องจากอนุพันธ์ของ Artemisinin ที่ไม่มีกลุ่ม Endoperoxide จะไม่มีฤทธิ์เลย คาดว่ากลไกการออกฤทธิ์ของยากลุ่มนี้อาศัยกระบวนการสร้างอนุมูลอิสระ คือ เชื้อมาลาเรียจะทำลายเม็ดเลือดแดงในผู้ป่วย โดยเปลี่ยน Haemoglobin (Fe3+) ให้เป็น Haem (Fe2+) ซึ่ง (Fe2+) ที่เกิดขึ้นจะไปเร่งปฏิกิริยาเปลี่ยน Endoperoxide ให้เป็นอนุมูลอิสระ และอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นนี้จะไปจับกับโปรตีนของเชื้อมาลาเรีย ทำให้เชื้อถูกทำลาย ซึ่งกลไกดังกล่าวจะต่างไปจากยาต้านมาลาเรียที่ใช้อยู่เดิม เช่น ยาในกลุ่มควินิน ซึ่งจะออกฤทธิ์โดยยับยั้งการสังเคราะห์ DNA และ RNA จึงทำให้ยาชนิดนี้ใช้ได้ผลดีกับเชื้อมาลาเรียชนิดดื้อยา[3]
เมื่อให้ Artemisinin แก่หนูทดลองทางปาก ยาจะถูกดูดซึมอย่างรวดเร็วและมีความเข้มข้นในเลือดสูงสุดภายใน 1 ชั่วโมง ส่วนยาที่เหลือจะถูกกำจัดที่ตับโดยเปลี่ยนเป็นสารที่ไม่มีฤทธิ์ ส่วนอนุพันธ์ของ Artemisinin คือ Artemether และ Artesunate จะถูกเปลี่ยนเป็น Dihydroartemisinin ซึ่งเป็นตัวที่ออกฤทธิ์ต้านเชื้อมาลาเรีย เนื่องจากยากลุ่มนี้มีค่าครึ่งชีวิตสั้น (ประมาณ 4 ชั่วโมงในกระแสเลือด) และการออกฤทธิ์เร็วของยาจะทำให้ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นภายใน 3-4 วัน แต่ต้องใช้ยากลุ่ม Artemisinin ในการรักษานานประมาณ 5-7 วัน เมื่อเทียบกับเมโฟรควินซึ่งมีค่าครึ่งชีวิตนานถึง 6-22 วัน ทำให้ยาออกฤทธิ์ช้าและเกิดอาการดื้อยาได้ง่าย[3]
การสังเคราะห์ทางเคมี การสังเคราะห์สาร Artemisinin และสารอนุพันธ์ด้วยวิธีดังกล่าวต้องผ่านหลายขั้นตอน ทำให้มีค่าใช้จ่ายสูงและไม่คุ้มทุน จึงนิยมสังเคราะห์โดยใช้ Artemisinin ที่แยกได้จากพืชชิงเฮาเป็นตัวตั้งต้นปฏิกิริยา สถาบันวิจัยและพัฒนา องค์การเภสัชกรรมได้ทำการสกัดโดยวิธี Solvent extraction และทำให้สารบริสุทธิ์โดย Preparative MPLC แล้วสังเคราะห์อนุพันธ์ของ Artemisinin ที่แยกได้โดยใช้เครื่องทำปฏิกิริยาเคมีขนาด 20 ลิตร และสามารถสังเคราะห์อนุพันธ์ได้ 3 ชนิด คือ Artemether, Artesunate และ Dihydroartemisinin โดยพบว่าอนุพันธ์ Dihydroartemisinin นั้นมีขั้นตอนการสังเคราะห์ที่สั้นกว่าอนุพันธ์อื่นและมีประสิทธิภาพในการต้านเชื้อมาลาเรียได้ดีกว่า Artemisinin จึงมีศักยภาพที่จะพัฒนาเป็นยาต้านมาลาเรียชนิดดื้อยาได้ จากนั้นได้ศึกษาวิจัยและพัฒนาสูตรยา Dihydroartemisinin ตลอดจนพัฒนาวิธีการควบคุมคุณภาพจนได้เป็นยาเม็ด Dihydroartemisinin ชนิดฟิล์มเคลือบขนาด 25, 50 และ 100 มิลลิกรัม และยา Dihydroartemisinin ชนิดแคปซูลขนาด 100 มิลลิกรัม[3]
จากการทดสอบประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยา Dihydroartemisinin ทางคลินิกในผู้ป่วยติดเชื้อมาลาเรียชนิดดื้อยา โดยทดสอบตัวยา 3 สูตร ในผู้ป่วยกลุ่มละ 60 คน ได้แก่
1. ยา Dihydroartemisinin ที่สังเคราะห์และพัฒนายาเองทุกขั้นตอนโดยสถาบันวิจัยและพัฒนาองค์การเภสัชกรรม,
2. ยา Dihydroartemisinin ที่นำเข้าวัตถุดิบมาจากประเทศเวียดนามและใช้สูตรยาขององค์การเภสัชกรรม และ
3. ยา Dihydroartemisinin สำเร็จรูปที่ผลิตขึ้นในประเทศจีน
ทำการทดลองให้ยาแก่ผู้ป่วยในขนาด 600 มิลลิกรัม แบ่งรับประทาน 5 วัน ผลการรักษาพบว่าผู้ป่วยทุกรายไม่มีเชื้อในเลือดภายใน 3 วัน หลังจากเริ่มการรักษาและไม่พบอาการข้างเคียงที่รุนแรง โดยอัตราการหายจากโรคคิดเป็น 92%, 85% และ 80% ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า Dihydroartemisinin ออกฤทธิ์เร็ว
ซึ่งมีข้อดีคือ จะทำให้เชื้อดื้อต่อยาได้ยากขึ้น องค์การอนามัยโลก (WHO) จึงแนะนำให้ใช้เป็นยาต้านมาลาเรียเฉพาะกับผู้ป่วยมาลาเรียชนิดที่ใช้ยาต้านมาลาเรียอื่นไม่ได้ผลเท่านั้น ทั้งนี้ก็เพื่อลดโอกาสการดื้อยาของเชื้ออันเนื่องมาจากการใช้ยาผิดวิธีนั่นเอง[3]
- จากข้อมูลการศึกษาทางพิษวิทยาที่ทำการศึกษาในคน เมื่อนำมาใช้ในคน มีรายงานการเกิดอาการข้างเคียงน้อยมาก และเป็นอาการข้างเคียงที่ไม่รุนแรง อาการที่พบคือ มีไข้ คลื่นไส้ และอาการที่พบได้เล็กน้อย คือ เม็ดเลือดแดงลดลง มีการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) คือ หัวใจเต้นช้าลง[1]
ประโยชน์ของชิงเฮา
- ทั้งต้นใช้เป็นยาฆ่ายุงได้ ด้วยการใช้ต้นสดนำมาคั้นเอาน้ำไปฆ่ายุง[1]
- ในปัจจุบันสาร Artemisinin และอนุพันธ์ที่มีอยู่ในต้นชิงเฮาถูกนำมาศึกษากันอย่างกว้างขวาง จนได้รับการอนุมัติจากองค์การอาหารและยาในหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทย ให้ใช้เป็นยารักษาโรคมาลาเรียที่เกิดจากเชื้อ Plasmodium falciparum ที่ดื้อต่อยาคลอโรควิน ซึ่งพบมากในประเทศไทย[1] โดยนำมาผลิตเป็นยาทั้งในรูปของยาเม็ดและยาฉีด[2]
หมายเหตุ : ในระยะการเจริญเติบโตต้นชิงเฮาจะค่อย ๆ สร้างสารอาติมิซินิน (Artemisinin) ซึ่งเป็นสารสำคัญที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อมาลาเรีย และจะสร้างสารชนิดนี้เพิ่มขึ้นจนสูงสุดในระยะก่อนออกดอก ในระยะนี้จึงเป็นช่วงที่เหมาะสมแก่การเก็บเกี่ยวมาใช้เป็นยา ส่วนของพืชที่สะสมสารชนิดนี้มากที่สุดคือส่วนของใบ ก้าน และดอก ตามลำดับ นอกจากนี้สภาพแวดล้อมในการปลูกก็มีผลต่อปริมาณการสร้างสารอาติมิซินินด้วย โดยชิงเฮาสายพันธุ์ของจีนและเวียดนามจะมีปริมาณของสารอาติมิซินินมากที่สุดคือประมาณ 1% ซึ่งมากกว่าสายพันธุ์ที่พบในทวีปยุโรปและอเมริกาถึง 5-200 เท่า[3]