วิธีการใช้น้ำแข็งรักษาอาการแผลไฟไหม้
จากการสืบค้นข้อมูล พบอ้างอิงการใช้น้ำแข็งเพื่อรักษาแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก โดยระบุว่ามีรายละเอียดอยู่ใน
อย่างไรก็ตามสามารถอ่านวิธีรักษาพยาบาลแผลไฟไหม้ / น้ำร้อนลวก เพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์ของโรงพยาบาลราชวิถี ได้จาก https://www.vibhavadi.com/health322
โดยระบุว่าวิธีการรักษาขึ้นกับความรุนแรงของแผล
Ref : พันธวัฒน์ จตุพร, ศุภพร ไทยภักดี, ศิริภัทรา เหมือนมาลัย. พืชสมุนไพรไทยสำหรับงานสาธารณสุขมูลฐานบนเว็บไซต์. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี.
http://www.east.spu.ac.th/journal/booksearch/upload/1375-013_thai.pdf
จากการสืบค้นข้อมูล พบอ้างอิงการใช้น้ำแข็งเพื่อรักษาแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก โดยระบุว่ามีรายละเอียดอยู่ใน
- สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2542) ของสำนักงานคณะกรรมการการสาธารณุสขมูลฐาน กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลที่กล่าวอ้างได้ จึงไม่สามารถระบุถึงวิธีการใช้ได้ค่ะ
อย่างไรก็ตามสามารถอ่านวิธีรักษาพยาบาลแผลไฟไหม้ / น้ำร้อนลวก เพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์ของโรงพยาบาลราชวิถี ได้จาก https://www.vibhavadi.com/health322
โดยระบุว่าวิธีการรักษาขึ้นกับความรุนแรงของแผล
- โดยเบื้องต้นให้ รีบใช้น้ำเย็นหรือน้ำแข็งประคบบริเวณที่มีบาดแผล เพื่อลดอาการปวดแสบปวดร้อน
- และป้องกัน มิให้เนื้อเยื่อถูกทำลายมากขึ้น
- อาจใช้น้ำเย็นราด หรือแช่ในน้ำใส่น้ำแข็ง หรือ ใช้ผ้าสะอาดชุบน้ำเย็นประคบ หรือใช้ถุงพลาสติก ใส่น้ำแข็งผสมน้ำเล็กน้อยวางตรงบริเวณที่มีบาดแผล อย่างน้อย 20 นาที หรือจนกว่าอาการปวดแสบปวดร้อนลดลง (ผลิตภัณฑ์ช่วย เจลว่านหางจรเข้)
- แล้วปิดแผลด้วยผ้ากอซ หรือผ้าสะอาด ถ้ายังมีอาการปวดแสบปวดร้อน หรือมีตุ่มใส ควรไปหาหมอ
Ref : พันธวัฒน์ จตุพร, ศุภพร ไทยภักดี, ศิริภัทรา เหมือนมาลัย. พืชสมุนไพรไทยสำหรับงานสาธารณสุขมูลฐานบนเว็บไซต์. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี.
http://www.east.spu.ac.th/journal/booksearch/upload/1375-013_thai.pdf
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น